Policy talk:Terms of Use: Difference between revisions

From Wikimedia Foundation Governance Wiki
Content deleted Content added
SAsod22 (talk | contribs)
No edit summary
Tag: Reverted
Replaced content with "{{archives}} == Are password managers a violation of Section 5 of the Terms of Use? == Initially, I had been using Google's password manager to make and store my Wikimedia password. However, once I found out that you may not disclose passwords to a third party, I stopped using it. For this reason, I had forgotten the password to my former account (which had no email attached to it) and later created this account. Caehlla2357 (User talk:Caehlla..."
Tags: Replaced Undo
Line 1: Line 1:
{{archives}}
{{archives}}
== Are password managers a violation of Section 5 of the Terms of Use? ==
|อธิบายกรณีคุ้มครอง=[http://ความสำคัญของสถาบัน ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย ตัวชี้วัดช่วงชั้น • วิเคราะห์ประเด็นสำคัญของประวัติศาสตร์ไทย (ส 4.3 ม. 4–6/2) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยได้ (A, K) 2. นำความรู้เรื่องความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ (P, K) 3. วิเคราะห์ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยได้ (P, K) ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย 1. การป้องกันและรักษาเอกราชของชาติ นับตั้งแต่อดีตพระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะจอมทัพ เป็นผู้นำในการทำสงครามเพื่อป้องกันบ้านเมืองและขยายอำนาจ เช่น สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสระภาพจากพม่าและทำสงครามเพื่อสร้างความมั่นคงและขยายอำนาจของกรุงศรีอยุธยา หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงประกาศอิสรภาพจากพม่าและทำสงครามเพื่อสร้างความมั่นคงและขยายอำนาจของกรุงศรีอยุธยา หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงเป็นผู้นำขับไล่พม่าหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 และสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชก็ทรงเป็นแม่ทัพสำคัญมาตั้งแต่สมัยธนบุรี ทรงทำสงครามกับพม่า สงครามครั้งใหญ่ คือ สงครามเก้าทัพ เมื่อ พ.ศ. 2328 แม่แต่ในสมัยที่ไทยเผชิญภัยคุกคามจากจักรวรรดินิยมตะวันตก ทั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงเป็นผู้นำในการดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อรักษาเอกราชของชาติ โดยใช้นโยบายทางการทูตสร้างความสัมพันธ์กับราชสำนักต่างชาติเมื่อเผชิญกับความขัดแย้งกับชาติตะวันตก เช่น รัฐบาลไทยใช้การเจรจาทางการทูตทั้งการเจรจาในเมืองไทยและในฝรั่งเศส ในกรณี ร.ศ. 112 โดยขุนนางไทยและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงเจรจากับฝรั่งด้วยพระองค์เอง เมื่อคราวเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 พ.ศ. 2440 นอกจากนี้ทรงผูกมิตรกับรัสเซีย เพื่อให้รัสเซียช่วยเจรจาไกล่เกลี่ยกับฝรั่งเศสอีกทางหนึ่ง และทรงยอมเสียดินแดนส่วนน้อยที่ไม่ใช่ดินแดนไทยเพื่อรักษาดินแดนส่วนใหญ่ไว้ หรือในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914 - 1918) และส่งทหารไทยไปยุโรปด้วย ทำให้ไทยได้ประโยชน์จากการเข้าร่วมกับฝ่ายชนะสงคราม โดยได้ยกเลิกสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมที่เคยทำกับชาติตะวันตกไว้ในเวลาต่อมา บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการเมือง พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำในด้านการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่างๆ ด้วยการพระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อกิจการสาธารณกุศลอยู่เป็นนิจ ได้แก่ พระราชทานทุนการศึกษา สงเคราะห์คนยากิจน คนพิการ เจ็บป่วย และชราเมื่อราษฎรประสบภัยธรรมชาติ หรือความทุกข์ยาก พระองค์พระราชทานความช่วยเหลือ ทรงเป็นผู้นำทางด้านสังคมสงเคราะห์อย่างแท้จริง นอกจากนั้นยังทรงมีพระราชดำริให้มีโครงการเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย ได้แก่ โครงการอีสานเขียว โครงการปฏิรูปที่ดิน โครงการ สหกรณ์แบบต่างๆ โครงการด้านการเกษตร โครงการฝนหลวง โครงการนาสาธิต โครงการแพทย์หลวง โครงการพัฒนาที่ดิน โครงการการศึกษา โรงเรียนร่มเกล้า โครงการแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานคร โครงการฝึกอาชีพต่างๆ เป็นต้น โครงการทั้งหลายนี้ล้วนได้รับการสนับสนุนจากราษฎร หน่วยราชการ เกิดผลดีต่อประเทศชาติและประชาชน บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการปกครอง พระมหากษัตริย์ได้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครองการรวมชาติ การสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปัจจุบันบทบาทของพระมหา กษัตริย์มีส่วนช่วยสร้างเอกภาพของประเทศเป็นอย่างมาก คนไทยทุกกลุ่มไม่ว่าศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกต่างกันอย่างไรก็มีความรู้สึก ร่วมในการมีพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่างๆ แม้ท้องถิ่นทุรกันดาร หรือมากด้วยภยันตรายอยู่ตลอดเวลา ทำให้ราษฎรมีขวัญและกำลังใจดี มีความรู้สึกผูกพันกับชาติว่ามิได้ถูกทอดทิ้ง พระราชกรณียกิจดังกล่าวของพระองค์มีส่วนช่วยในการปกครองเป็นอย่างมาก 2. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านกี่ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา พระมหากษัตริย์ไทยทุกยุคทุกสมัยเป็นองค์อุปถัมภ์และส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทั้งการสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน การสังคายนาพระไตรปิฏก การแต่งวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น สมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1(ลิไทย) ทรงแต่งไตรภูมิพระร่วงหรือสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงสนับสนุนให้นักปราชญ์ราชบัณฑิตร่วมกันแต่งหนังสือเรื่องมหาชาติคำหลวง นอกจากนี้ พระมหากษัตริย์ไทยทรงมีขันติธรรมทางศาสนา ทรงให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาแก่ราษฎร และทรงสนับสนุนศาสนาอื่น ๆ เช่น พระราชทานที่ดินให้สร้างเป็นโบสถ์คริสต์และมัสยิดในศาสนาอิสลามทั้งในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ เป็นต้น 3. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจ พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและความเจริญแก่สังคม ได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พระราชดำริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็นรากฐานในการพัฒนา ชาติทั้งสิ้น โครงการของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันที่สำคัญ ได้แก่ โครงการอีสานเขียว โครงการฝนหลวง โครงการปลูกป่า โครงการขุดคลองระบายน้ำ โครงการปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดในเมืองใหญ่ โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม และอื่นๆ ทรงทำเป็นแบบอย่างที่ดีประชาชนและหน่วยราชการนำไปปฏิบัติก่อให้เกิดประโยชน์ในทางการพัฒนาชาติขึ้นมาก นอกจากนี้ทรงทำให้เกิดความคิดในการดำรงชีวิตแบบใหม่เช่น การประกอบอาชีพ การใช้วิทยาการมาช่วยทำให้สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น 4. บทบาทและหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ด้านการทำนุบำรุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ทรงมีแนวพระราชดำริว่ามีความสำคัญด้วยเป็นทั่งที่มาของความเจริญ และเป็นสิ่งที่จะช่วยดำรงความเป็นไทยไว้ได้ ดังพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยศิลปากรเมื่อวันที่ 12 ตุลาคมพ.ศ. 2513 ความตอนหนึ่งว่า"งานด้านการศึกษาศิลปะและวัฒนธรรมนั้น คืองานสร้างสรรค์ความเจริญทางปัญญาและทางจิตใจ ซึ่งเป็นต้นเหตุ ทั้งองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ของความเจริญด้านอื่นๆ ทั้งหมด และเป็นปัจจัยที่ช่วยให้เรารักษาและดำรงความเป็นไทยไว้ได้สืบไป" ดังที่กล่าวแล้วว่าพระราชภารกิจอีกประการหนึ่งของพระมหากษัตริย์คือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นต่อศิลปวัฒนธรรมของชาติไทย ด้วยทรงตระหนักถึงแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงที่ประเทศไทยจะต้องพัฒนาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ ซึ่งมีทั้งการรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เศรษฐกิจและการค้า และสภาพความเป็นอยู่ของคนในชาติ โดยยังคงดำรงความเป็นไทย เป็นชาติที่มีอารยธรรมเก่าแก่สืบทอดกันมานาน มีเอกลักษณ์อันเด่นชัดที่ก่อให้เกิดความสามัคคีในชาติทรงมีพระราชดำริให้ศิลปวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยวประชาชนคนไทยไว้ด้วยกันให้มี ความเป็นเจ้าของร่วมกันและในที่สุดจะสามารถสืบทอดต่อไปสู่คนรุ่นหลัง ความลึกซึ้งในแนวพระราชดำริเกี่ยวกับวัฒนธรรมอันเป็นสิ่งที่ภาคภูมิใจของคนแต่ละชาติแต่ละภาษานั้น ทรงนำมาใช้เพื่อสร้างมิตรภาพได้แม้แต่ในการเสด็จพระราชดำเนินเยือนสหภาพพม่าซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่เคยทำสงครามกันมา ศิลปะและวัฒนธรรมนั้นมีบริบทที่กว้างขวาง แม้แยกเป็นประเด็นก็อาจจะมีความเกี่ยวเนื่องโยงใยถึงกันโดยเฉพาะพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกันเนื่องด้วยพระราชกรณียกิจเหล่านั้นล้วนเป็นผลมาจากแนวพระราชดำริที่ทรงมีต่อศิลปวัฒนธรรมอย่างไรก็ดี ในที่นี้จะกล่าวถึงแนวพระราชดำริและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงทำนุบำรุง ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ ได้แก่การฟื้นฟูขนบประเพณี ประวัติศาสตร์และการอนุรักษ์มรดกของชาติ และการอนุรักษ์ภาษาไทย ใบงาน คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาถึงบทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยเรื่องดังต่อไปนี้ ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย 1. ด้านการป้องกันและรักษาเอกราชของชาติ 2. ด้านการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา 3. ด้านเศรษฐกิจ 4. ด้านการสร้างสรรค์วัฒนธรรม][[กษัตริย์อันเป็นที่เคารพ|การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สังคมทุกสังคมจะเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นได้ย่อมต้องมีระเบียบวินัยและผู้น าของสังคมเป็นหลักในการปกครอง ผู้น าของสังคมระดับประเทศโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของประธานาธิบดีหรือพระมหากษัตริย์ ส าหรับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่การใช้พระราชอ านาจด้านนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ ทรงมิได้ใช้พระราชอ านาจเหล่านั้นด้วยพระองค์เอง แต่มีองค์การหรือ หน่วยงานที่รับผิดชอบต่าง ๆ กันไป พระราชอ านาจทั้งปวงไม่ว่าจะเป็นฐานะประมุขของรัฐ หรือในฐานะอื่น ได้ถูกก าหนดไว้ โดยชัดแจ้งในรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับก าหนดรูปแบบการปกครองและประมุขแห่งรัฐไว้ว่า ประเทศไทยมีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นการเทิดทูนพระมหากษัตริย์ คือ ทรงด ารงอยู่ในฐานะอันเป็นที่ เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ และรัฐธรรมนูญยังก าหนดพระราชอ านาจของพระมหากษัตริย์โดยให้พระมหากษัตริย์ทรง เป็นผู้ใช้อ านาจอธิปไตยซึ่งเป็นของประชาชน โดยใช้อ านาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อ านาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี และอ านาจตุลาการผ่านทางศาล การก าหนดเช่นนี้หมายความว่าอ านาจต่าง ๆ จะใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่ง ในความเป็นจริงอ านาจเหล่านี้มีองค์กรเป็นผู้ใช้ ฉะนั้นการที่บัญญัติว่า พระมหากษัตริย์ทรงใช้อ านาจนิติบัญญัติ อ านาจบริหาร และอ านาจตุลาการผ่านทางองค์กรต่าง ๆ นั้น จึงเป็นการเทิดพระเกียรติแต่อ านาจที่แท้จริงอยู่ที่องค์กรที่เป็นผู้พิจารณาน าขึ้น ทูลเกล้าถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลง พระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญของไทยแม้จะได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมืองและก าหนดให้มีผู้รับสนอง พระบรมราชโองการในการปฏิบัติทางการปกครอง ทุกอย่าง แต่พระมหากษัตริย์ก็ทรงมีอ านาจบางประการที่ได้รับการรับรอง โดยรัฐธรรมนูญ และ เป็นพระราชอ านาจที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัยจริง ๆ ได้แก่การแต่งตั้งคณะองคมนตรี การแต่งตั้งข้าราชการในพระองค์ และ สมุหราชองครักษ์การแก้ไขเพิ่มเติมกฏมณเทียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์การพระราชทางเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เป็น ต้น พระราชอ านาจที่ส่งผลกระทบต่อการเมืองการปกครองอย่างแท้จริง คือ พระราชอ านาจในการยับยั้งร่าง พระราชบัญญัติในกรณีที่พระมหากษัตริย์ทรงไม่เห็นด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่ผ่านการเห็น ชอบของรัฐสภามาแล้วและ นายกรัฐมนตรีน าขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้ แต่พระองค์อาจใช้พระราชอ านาจ ยับยั้งได้ เช่น กรณีพระราชบัญญัติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งรัฐสภาจะต้องน าร่างพระราชบัญญัติที่ถูกยับยั้ง นั้นไปพิจารณาใหม่ อ านาจอธิปไตย หมายถึง อ านาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งถือว่าเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญของการปกครองของรัฐที่มี อิสระ เสรีภาพ และมีความเป็นเอกราช มีอ านาจในการบริหารราชการ ทั้งกิจการภายในและนอกประเทศได้อย่างเต็มที่ โดยทั่วไปอ านาจอธิปไตยแยกใช้เป็น 3 ลักษณะ คือ อ านาจนิติบัญญัติ อ านาจบริหาร และ อ านาจตุลาการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ระบุว่า อ านาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อ านาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ซึ่ง หมายความว่า ในทางการเมืองประชาชนมีอ านาจสูงสุด แต่การใช้อ านาจทางกฎหมายต้องใช้ผ่านสถาบันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาลที่พิพากษา อรรถคดีตามกฎหมายที่บัญญัติไว้แล้วในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์และตามขอบเขตที่ รัฐธรรมนูญก าหนดไว้เท่านั้น ดังนั้นองค์ประกอบของผู้ใช้อ านาจก็คือ ต้องมีสถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันนิติบัญญัติ สถาบันบริหาร และสถาบันตุลาการ อย่างไรก็ดี จะเห็นได้ว่าอ านาจอธิปไตยตามกฎหมายไม่ได้อยู่ที่รัฐสภาเท่านั้น แต่แยกกันอยู่ ใน 3 สถาบันหลักดังกล่าว ซึ่งรัฐธรรมนูญไม่ได้ระบุว่าอ านาจใดใหญ่ที่สุดหรือส าคัญกว่ากัน การก าหนดให้แยกการใช้อ านาจอธิปไตยออกเป็น 3 ส่วน และให้มีองค์กร 3 ฝ่าย เป็นผู้รับผิดชอบไปแต่ละส่วนนี้ เป็นไปตามหลักการประชาธิปไตยที่ไม่ต้องการให้มีการรวมอ านาจ แต่ต้องการให้มีการถ่วงดุลอ านาจซึ่งกันและกัน เพราะถ้าให้ องค์กรใดเป็นผู้ใช้อ านาจมากกว่าหนึ่งส่วนแล้ว อาจเป็นช่องว่างให้เกิดการใช้อ านาจแบบเผด็จการได้ ความสัมพันธ์ระหว่างอ านาจนิติบัญญัติ อ านาจบริหาร และอ านาจตุลาการ มีดังนี้ 1. อ านาจนิติบัญญัติ หรือ สถาบันนิติบัญญัติ หมายถึง สถาบันที่ท าหน้าที่ออกกฎหมาย คือรัฐสภา ซึ่งมีรูปแบบเป็น สภาคู่ หรือ 2 สภา ประกอบด้วย 1.1 สภาผู้แทนราษฎร สมาชิกมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต จ านวน 400 คน และการเลือกตั้งแบบ สัดส่วน จ านวน 80 คน รวม 480 คน มีอ านาจหน้าที่ในการออกกฎหมาย 1.2 วุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนและการสรรหา มีจ านวน 150 คน มี หน้าที่ในการพิจารณากลั่นกรองพระราชบัญญัติโดยถี่ถ้วนไม่ต้องผูกพันกับฝ่ายรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีอ านาจหน้าที่ในการ แต่งตั้งและถอดถอนผู้ด ารงต าแหน่งส าคัญของบ้านเมือง เช่น นายกรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครอง อัยการสูงสุด เป็นต้น 2. อ านาจบริหาร หรือ สถาบันบริหาร หมายถึงบุคคล คณะบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กรที่น านโยบายของรัฐไป ด าเนินการและน าไปปฏิบัติสถาบันบริหารนั้นนอกจากจะเป็นสถาบันสร้างกฎหมายแล้ว ยังเป็นสถาบันสร้างนโยบายบริหาร ประเทศด้วย สถาบันบริหารจะน านโยบาย และกฎหมายที่ผ่านความเป็นชอบของรัฐสภาแล้วไปด าเนินหรือไปปฏิบัติ องค์ประกอบของสถาบันบริหารประกอบด้วย 2.1 ข้าราชการการเมือง คือข้าราชการซึ่งได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนให้มาท าหน้าที่เป็นนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี เพื่อบริหารบ้านเมือง 2.2 ข้าราชการประจ า คือ บุคลากรซึ่งเป็นกลไกหรือเครื่องมือในการน านโยบายและกฎหมายไปปฏิบัติซึ่ง ต้อง ปฏิบัติงานอย่างตรงไปตรงมา มีประสิทธิภาพสูง มีความรอบรู้ในหลักวิชาการ มีประสบการณ์ และมีระเบียบประเพณีการ ประพฤติปฏิบัติ ที่เป็นแบบอย่าง มีสายการบังคับบัญชาของข้าราชการประจ าอย่างชัดเจน มีการแบ่งงานกันท าเฉพาะอย่างตามความช านาญ 3. อ านาจตุลาการ หรือ สถาบันตุลาการ หมายถึง ศาลและผู้พิพากษาที่ปฏิบัติหน้าที่ในนามของรัฐ หรือในพระ ปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์อ านาจตุลาการตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญมีสาระส าคัญ 2 ประการดังนี้ 3.1 อ านาจตุลาการในระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญของไทยในอดีตได้แยกอ านาจระหว่างอ านาจตุลาการ และอ านาจนิติบัญญัติไว้อย่างชัดเจน โดยจัดอ านาจตุลาการให้มีความอิสระจากฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติรัฐสภาจะก้าวก่าย อ านาจของศาลไม่ได้ 3.2 ศาล รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้วางหลักทั่วไปเกี่ยวกับหลักการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีว่าเป็นอ านาจ ศาล ซึ่งศาลในที่นี้หมายถึง ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ศาลทหาร ศาลยุติธรรม และศาลอื่นๆ พระราชสถานะและพระราชอ านาจที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์โดยบัญญัติว่า องค์ พระมหากษัตริย์ทรงด ารงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ ในทางใด ๆ มิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ผู้ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็น การกระท าความผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับถึงกับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการล้มล้างสถาบัน พระมหากษัตริย์ การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือ การเมือง และก าหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการด าเนินการทางการเมืองการปกครองรัฐธรรมนูญได้ก าหนด พระราชอ านาจของ พระมหากษัตริย์ ดังนี้ 1. ทรงใช้อ านาจอธิปไตย พระมหากษัตริย์ใช้อ านาจอธิปไตย เช่น อ านาจนิติบัญญัติอ านาจบริหาร และอ านาจตุลา การ ดังนี้ ทรงใช้อ านาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา หมายความว่า พระมหากษัตริย์ทางใช้อ านาจในการออกกฎหมาย ค าแนะน า และ ยินยอมของรัฐสภา เมื่อรัฐสภาร่างกฎหมายขึ้นแล้วจะทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายตาม ขั้นตอนของ รัฐธรรมนูญ ทรงใช้อ านาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี หมายความว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งนายกรัฐมนตรี พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีด าเนินการไปนั้น ถือว่ากระท าไปในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ทั้งนี้เพราะบรรดา พระราชบัญญัติพระราชก าหนด พระราชกฤษฎีกา พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติและรับผิดชอบทั้งสิ้น โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราช โองการ พระราชอ านาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวได้แก่การตราพระราชกฤษฎีกาไม่ขัดต่อกฎหมาย การ ประกาศใช้และยกเลิกใช้กฎอัยการศึก การประกาศสงคราม เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา การท าสัญญาสันติภาพ สัญญา สงบศึก หรือสนธิสัญญาอื่นกับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ และการพระราชทานอภัยโทษ ทรงใช้อ านาจตุลาการทางศาล หมายถึง ศาลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่างๆ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและ ตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอ านาจในการแต่งตั้งและการพ้นจาก ต าแหน่งของผู้พิพากษาและตุลาการก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้พิพากษาและตุลาการจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ 2. ทรงด ารงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไทยทรงอยู่ภายใต้ กฎหมายก็เพียงเฉพาะกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่านั้น แต่ทรงอยู่เหนือกฎหมายอื่น ๆ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องตามกฎหมายใด ๆ มิได้ทั้งนี้ก็เพราะต้องการเทิดทูนองค์พระประมุขของชาติ พระมหากษัตริย์ไม่ทรงกระท าผิด (The King can do no wrong) หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระท าในพระปรมาภิไธย ของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายบกพร่องเกิดขึ้น ผู้ลงนามรับสนองพระราชโองการจะต้องรับผิดชอบ เพราะในทางปฏิบัติ นั้น พระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่ม หรือด าเนินข้อราชการต่าง ๆ ด้วยพระองค์เองจะต้องมีเจ้าหน้าที่หรืองค์กรหนึ่งองค์กรใด เป็นฝ่ายด าเนินการและกราบทูลขึ้นมา จะไปละเมิดกล่าวโทษพระมหากษัตริย์มิได้ 3. ทรงเป็นุพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก นั่นก็คือทรงเป็นผู้ทรงศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ขณะเดียวกันก็ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก คือ ทรงท านุบ ารุงอุปถัมภ์ศาสนาทั้งปวงในขอบขันฑสีมาด้วย โดยไม่เลือกแบ่งแยก ว่าเป็นศาสนาใด สถาบันพระมหากษัตริย์กับศาสนาจึงเป็นสัญลักษณ์พิเศษอย่างหนึ่งของชาติไทย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้ พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นพุทธมามกะและเป็นองค์อุปถัมภ์ค้ าชูศาสนาอื่น ๆ อย่างเสมอหน้ากัน 4. ทรงด ารงต าแหน่งจอมทัพไทย ค าว่า พระมหากษัตริย์ หมายถึง นักรบผู้ยิ่งใหญ่ ด้วยเหตุนี้พระมหากษัตริย์ใน อดีตจึงต้องทรงน าทัพออกศึกด้วยพระองค์เอง ปัจจุบันแม้การรบจะไม่เกิดมีขึ้นแล้วก็ตาม แต่พระมหากษัตริย์ก็ยังทรงเป็นมั่ง ขวัญของเหล่าทหารหาญ และเหนือสิ่งอื่นใดทรงด ารงต าแหน่งจอมทัพไทย ตามที่รัฐธรรมนูญได้ถวายพระเกียรติยศไว้เป็นครั้ง แรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ว่า พระมหากษัตริย์ ทรงด ารงต าแหน่งจอมทัพสยาม และ นับแต่วาระนั้นเป็นต้นมา รัฐธรรมนูญที่ตราขึ้นภายหลังก็ได้มีบทบัญญัติท านองเดียวกันนี้ปรากฏอยู่ทุกฉบับ พระราชสถานะ จอมทัพไทย ตามรัฐธรรมนูญนี้ได้จ าหลักลงในส านึกของทหารไทยทุกคนเริ่มตั้งแต่ธงไชยเฉลิมพลประจ ากองทหารนั้น ก็เป็น มงคลสูงสุดส าหรับหน่วย ด้วยเหตุว่าเป็นของที่ได้รับพระราชทานและได้บรรจุเส้นพระเจ้า(เส้นผม) ไว้ในพระกรัณฑ์(ตลับ) บนยอดปลายสุดของธง ดังนั้นเมื่อ กองทหารและธงไชยเฉลิมพลไปปรากฏอยู่ ณ ที่ใด ก็เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้เสด็จ พระราชด าเนินร่วมไปด้วยในกองทัพนั้น ทหารไทยจึงมีขวัญมั่นคงเพราะต่างทราบดีว่าตนปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยเพื่อประโยชน์ สูงสุดของชาติเช่นเดียวกับพระประมุขของตนนั่นเอง 5. ทรงไว้ซึ่งพระราชอ านาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นพระประมุขของชาติทรงไว้ซึ่งพระราชอ านาจที่จะพระราชทานเกียรติยศแก่ชนทุกชั้นไม่ว่าจะเป็นฐานันดรศักดิ์แห่ง พระราชวงศ์สมณศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของพระภิกษุสงฆ์)และบรรดาศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของขุนนาง ข้าราชการ) และทรงไว้ ซึ่งพระราชอ านาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกตระกูลทุกล าดับชั้นด้วยการที่จะทรงสถาปนา ฐานันดรศักดิ์หรือพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์นั้น ในสมัยราชาธิปไตยพระราชอ านาจเหล่านี้เป็นไปตามพระราช อัธยาศัยสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตยตาม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแล้ว การสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์ การพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีรับสนองพระบรมราชโองการ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังคงมีธรรมเนียมที่จะทรงสถาปนาฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์และพระราชทานสมณศักดิ์ อยู่แต่ส าหรับบรรดาศักดิ์ขุนนางหรือข้าราชการนั้น ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว 6. ทรงเลือกและแต่งตั้งองคมนตรี คณะองคมนตรี คือ คณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์มีหน้าที่ถวายความเห็น ต่อองค์พระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระ มหากษัตริย์ทรงปรึกษา องคมนตรีประกอบด้วยผู้มทรงคุณวุฒิต่าง ๆ โดยมีประธานองคมนตรีคนหนึ่งกับองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 18 คน การเลือก การแต่งตั้ง และการให้องคมนตรีพ้นจาก ต าแหน่งให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย เพียงแต่ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งหรือพ้นจาก ต าแหน่ง ขององค์มนตรีอื่นๆ ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการทั้งสิ้น 7. ทรงแต่งตั้งผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์หมายถึง ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน พระมหากษัตริย์เมื่อพระมหากษัตริย์จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรหรือทรงบริหารพระราชภาระไม่ได้เช่น ประชวร ทรง ผนวช ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือเมื่อราชบัลลังก์ว่างลง ปกติแล้วเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งผู้ใดด้วยความเห็นชอบของ รัฐสภา ผู้นั้นก็เป็นผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ แต่ถ้ามิได้ทรงแต่งตั้งไว้ให้คณะองคมนตรีเสนอชื่อผู้ใดผู้หนึ่งที่สมควรต่อ รัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบและในบางกรณีเช่น เมื่อราชบัลลังก์ว่างลง หรือระหว่างที่ยังไม่มีผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ให้ ประธานองคมนตรีเป็นผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ไปพลางก่อนได้ ในรัชกาลปัจจุบันมีการแต่งตั้งผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์หลายคราว เช่น เมื่อเสด็จไปทรงศึกษาในต่างประเทศ ช่วงต้นรัชกาล เมื่อทรงผนวช หรือเมื่อเสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในต่างประเทศ 8. ทรงแก้ไขกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ กฎมณเฑียรบาลหมายถึง กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ ทรงตราขึ้นใช้บังคับในกิจการส่วนพระองค์ เช่น พระราชพิธีต่าง ๆ กิจการที่เกี่ยวกับสมาชิกแห่งพระราชวงศ์หรือกิจการที่ เกี่ยวกับราชส านักหรือภายในเขตพระราชฐาน โดยไม่เกี่ยวกับราษฎรอื่น ๆ การสืบราชสมบัติ หมายถึง การขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ซึ่งนับต่อเนื่องจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนมิให้ขาด ตอนกัน อันเป็นธรรมเนียมนานาประเทศ การแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์เป็นพระราชอ านาจของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะ เมื่อมีพระราชด าริประการใดให้คณะองคมนตรีจัดท าร่างกฎมณเฑียรบาลแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อมีพระ บรมราชวินิจฉัย เมื่อทรงเห็นชอบและทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประธานองคมนตรีแจ้งประธานรัฐสภาเพื่อให้ประธาน รัฐสภาแจ้งให้รัฐสภาทราบ 9. ทรงท าหนังสือสัญญา ทรงไว้ซึ่งพระราชอ านาจในการท าหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่นๆ กับนานาประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ นอกจากนี้หนังสือสัญญาได้มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอ านาจแห่ง รัฐ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติเพื่อให้เป็นไปตามสัญญา ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา 10. ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผู้พิพากษา ข้าราชการในพระองค์และข้าราชการระดับสูง 11. พระราชทานอภัยโทษ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอ านาจที่จะอภัยโทษแก่ผู้ต้องโทษโดยมีผู้รับสนองพระ บรมราชโองการ พระราชสถานะและพระราชอ านาจที่ไม่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ พระราชอ านาจตามประเพณีของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยของไทย ซึ่งไม่มีบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญพระมหากษัตริย์อาจทรงใช้พระราชอ านาจต่อไปนี้เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน 1. พระราชอ านาจที่จะทรงได้รับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ในฐานที่ทรงด ารงต าแหน่งประมุขของประเทศ เป็นสิทธิของ พระมหากษัตริย์ ที่จะทรงได้รับการถวายรายงานให้ทรงทราบถึงสถานการณ์หรือเรื่องราวของบ้านเมืองเสมอการที่พระองค์จ าเป็นต้องทรง ทราบถึงเรื่องราวส าคัญก็เพื่อที่จะทรงให้ค าแนะน า ตักเตือน เพื่อประกอบการพิจารณาของรัฐบาลหรือผู้ทราบรับผิดชอบเรื่อง นั้น ๆ 2. พระราชอ านาจที่จะพระราชทานค าปรึกษาหารือ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีปัญหาเกี่ยวกับการบริหารราชการ แผ่นดิน อาจน าปัญหาขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยได้ 3. พระราชอ านาจที่จะพระราชทานค าแนะน าตักเตือน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะให้ค าแนะน า ตักเตือนใน บางเรื่อง บางกรณีแก่รัฐสภา รัฐบาลและศาล หรือองค์กรอื่น ๆ ที่ทรงเห็นว่าถ้ากระท าไปแล้วจะเกิดผลเสียหายแก่บ้านเมือง 4. พระราชอ านาจที่จะพระราชทานการสนับสนุน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะพระราชทาน หรือให้การ สนับสนุนการกระท า หรือกิจการใดๆ ของรัฐหรือเอกชนได้ เช่น โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ โครงการฝนหลวง โครงการอีสาน เขียว โครงการสร้างเขื่อน การที่พระองค์ทรงมีพระราชด าริและให้การสนับสนุนโครงการต่าง ๆย่อมเป็นขวัญและก าลังใจ ส าหรับผู้ที่ด าเนินการนั้น ๆ พระราชสถานะทางสังคม สังคมไทยยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันคู่บ้านคู่เมือง เป็นสัญลักษณ์ของชาติ ทรงได้รับการเชิดชูจาก สังคมไทย ดังนี้ 1. ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงท าให้เกิดความส านึกในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ท าให้ทุกสถาบันมีจุดรวมจากแหล่งเดียวกัน แม้จะมีความแตกต่างกันในด้านเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ ศาสนา ก็มีความสมานสามัคคี กลมเกลียวกันในหมู่ชนเหล่านั้น ทรงรักใคร่ห่วงใยประชาชน ทรงมีเมตตาต่อประชาชนทุกหมู่เหล่า พระองค์ทรงเสด็จพระราช ด าเนินไปทุกแห่งไม่ว่าจะเป็นถิ่นทุรกันดารหรือมีอันตรายเพียงใด เพื่อทรงทราบถึงทุกข์สุขของประชาชน ประชาชนก็มีความ ผูกกันกับพระมหากษัตริย์อย่างลึกซึ้ง แน่นแฟ้น มั่นคง จนยากที่จะท าให้สั่นคลอนหรือแตกแยกได้ 2. ทรงเป็นสัญลักษณ์แห่งความต่อเนื่องของชาติพระมหากษัตรีย์ทรงเป็นประมุขของชาติไทยสืบต่อกันมาโดยไม่ ขาดสายตั้งแต่อาณาจักรไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่ารัฐบาลจะเปลี่ยนไปกี่ยุคสมัยก็ตาม ท าให้ระบบการเมืองและชาติไทยมี ความสมานฉันท์และต่อเนื่องตลอดเวลา 3. ทรงเป็นพลังในการสร้างขวัญและก าลังใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงเป็นที่มาของแหล่งเกียรติยศทั้ง ปวง ก่อให้เกิดความภาคภูมิปิติยินดีและเกิดก าลังใจในหมู่ประชาชนทั่วไปที่จะรักษาคุณงามความดีและพยายามกระท าความดี เพื่อให้พระมหากษัตริย์สบายพระทัย 4. ทรงมีส่วนส าคัญในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงขึ้นครองราชย์ด้วยความเห็นชอบ ยอมรับของประชาชน และทรงใช้อ านาจอธิปไตยแทนประชาชนในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและบ้านเมืองเป็น ส าคัญ ซึ่งอาจต่างจาก ประมุขของประเทศอื่นที่ขึ้นด ารงต าแหน่งโดยการเลือกตั้ง จึงต้องยึดนโยบายของกลุ่มหรือพรรคการเมืองที่ตนสังกัดเป็นหลัก 5. ทรงแก้ไขวิกฤตการณ์สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นกลไกส าคัญในการยับยั้งและแก้ไขวิกฤตการณ์ที่ร้ายแรง ภายในประเทศได้ในบางครั้งประเทศไทยเกิดการขัดแย้งกันเองตามระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ก็สามารถยุติได้ ด้วยพระบารมีของพระองค์ เช่น เหตุการณ์เรียกร้องประชาธิปไตยเมืองเดือนตุลาคม 2516 และเหตุการณ์ความขัดแย้งทาง การเมืองเมื่อเดือนพฤษภาคม 2535 เป็นต้น 6. ทรงส่งเสริมความมั่นคงของประเทศ พระมหากษัตริย์เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย ทั้งประชาชน รัฐบาล หน่วย ราชการ กองทัพ นิสิต นักศึกษา ปัญญาชน หรือกลุ่มต่าง ๆ แม้กระทั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศ เช่น ชาวไทยภูเขา ชาวไทยมุสลิม เป็นต้น ท าให้ทุกฝ่ายมีความมุ่งมั่นและมีความพรักพร้อมที่จะรักษาความมั่นคงและเอกราชของชาติไว้ 7. ทรงมีส่วนเสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ พระมหากษัตริย์ไทยในอดีตได้ทรงด าเนินวิเทโศบายได้อย่าง ดีจนสามารถรักษาเอกราชไว้ได้โดยเฉพาะสมัยการล่าเมืองขึ้นของชาติตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประพาสยุโรปถึง 2 ครั้ง เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอ านาจในยุโรป ส าหรับพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ก็ทรงด าเนินการให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศต่าง ๆ กับประเทศไทย โดยเสด็จพระ ราชด าเนินเยี่ยมเยือนประเทศต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 31 ประเทศ ท าให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศด าเนินไปได้อย่าง สะดวกและราบรื่น 8. ทรงเป็นผู้น าในการพัฒนาและปฏิรูปด้านต่าง ๆ การพัฒนาและการปฏิรูปที่ส าคัญ ๆ ของชาติส่วนใหญ่ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้น า ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงปูพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยจัดตั้ง กระทรวงต่าง ๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาส กระทั่งถึงรัชกาลปัจจุบันได้ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่าง ๆ ทรง สนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลัก ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ผ่านโครงการ พระราชด าริซึ่งมุ่งเน้นการแก้ปัญหาให้แก่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ได้แก่ ชาวนา ชาวไร่และประชาชนผู้ด้อยโอกาส เช่น โครงการพัฒนาที่ดิน โครงการสหกรณ์ โครงการพัฒนาชาวเขา และการเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นต้น 9. ทรงมีส่วนเกื้อหนุนระบอบประชาธิปไตย สถาบันพระมหากษัตริย์มีส่วนส าคัญในการส่งเสริมระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยให้มีความเข้มแข็งและมั่นคง เพราะการที่ประชาชนเกิดความจงรักภักดีและเชื่อมั่นในสถาบัน พระมหากษัตริย์ท าให้ประชาชน เกิดความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขด้วย เนื่องจากเห็นว่าเป็นระบอบการปกครองที่เชิดชู สถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพสักการะของประชนนั่นเอง]][[พระราชอำนาจ|พระราชอำนาจตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ Namespacesหน้าอภิปรายPage actionsดูดูโค้ดประวัติ ทรงประกอบพระราชกรณียกิจตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหาในระบอบประชาธิปไตย มีพระราชอำนาจในการบริหารราชการแผ่นดินตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ผ่านสถาบันต่างๆ ของรัฐ คือ บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๓ ได้กำหนดว่า “อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทยพระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้” รวมถึงมาตรา ๘ ที่บัญญัติไว้ว่า “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใดๆ มิได้” โดยจะไม่ทรงประกอบการใดทางการเมืองด้วยพระองค์เอง ทั้งอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ หากเกิดความคลาดเคลื่อนผิดพลาดใดๆ ย่อมถือว่ามิได้ทรงกระทำผิด เพราะบุคคลที่รับผิดชอบต่อความคลาดเคลื่อนผิดพลาดนั้น คือองค์กรเจ้าของเรื่องและผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ที่ถือเป็นผู้แทนขององค์กรนั้นๆ ในรัฐธรรมนูญ ยังบัญญัติถึงพระราชฐานะและพระราชอำนาจอื่นๆ อีกหลายประการ ได้แก่ “พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก” ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๙ และ “พระมหากษัตริย์ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย” ตามมาตรา ๑๐ รวมถึง “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์” ตามมาตรา ๑๑ บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะในการเลือกและแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิมาดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรีและองคมนตรี ข้าราชการในพระองค์ และสมุหราชองครักษ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระรัชทายาทเพื่อสืบราชสันตติวงศ์ตามพระราชอัธยาศัย ตามมาตรา ๑๒ ๑๗ ๑๘ และ ๒๒ ตามลำดับ การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญผ่านองค์กร 021009-การใช้พระราชอำนาจ.jpg การใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามนิติราชประเพณี 021009-การใช้พระราชอำนาจ2.jpg ที่มา: รัฐสภาไทยใต้ร่มพระบารมี ๖๐ ปี ทรงครองราชย์ พุทธศักราช ๒๕๔๙ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ทรงสร้างพื้นฐานประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสร้างพื้นฐานประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีรัฐสภามีรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ในต้นรัชกาล ให้มีความเข้มแข็ง และเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยให้มีความก้าวหน้าในระยะเวลาต่อมา ทรงใช้พระราชอำนาจผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการอย่างถูกต้อง บริสุทธิ์ เที่ยงธรรม อันเป็นการประกอบพระราชกรณียกิจภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เพื่อให้งานบริหารประเทศดำเนินไปได้ราบรื่น ตลอดเวลา ๖๐ ปี แห่งการครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแล้ว ๑๓ ฉบับ โดยได้พระราชทานรัฐธรรมนูญครั้งแรกเมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ และเสด็จพระราชดำเนินไปในรัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภาสมัยสามัญทั่วไป ๓๓ ครั้ง โดยมีขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ นอกจากนี้ ทุกๆ ครั้งที่คณะผู้บริหารประเทศขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อถวายคำสัตย์ปฏิญาณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานคำแนะนำรวมถึงพระบรมราโชวาทให้ตั้งตนอยู่ในความซื่อสัตย์สุจริตและดำเนินการใดๆ ด้วยความตั้งใจเพื่อประโยชน์แห่งส่วนรวม อันเป็นแนวทางในการพัฒนาและบริหารประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้ามั่นคงสืบไป]]

== Are password managers a violation of Section 5 of the Terms of Use? ==[[[[สิทธิ์|สิทธิ์จะกำหนดวิธีที่ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับเนื้อหา เช่น เวิร์กบุ๊กและแหล่งข้อมูล สิทธิ์จะตั้งค่าได้ในกล่องโต้ตอบสิทธิ์ หรือผ่านทาง REST API(ลิงก์จะเปิดในหน้าต่างใหม่) ที่ด้านบนของกล่องโต้ตอบ กฎการอนุญาตจะกำหนดค่าความสามารถสำหรับกลุ่มหรือผู้ใช้ ด้านล่าง ตารางสิทธิ์จะแสดงสิทธิ์ที่มีผลต่อผู้ใช้ กล่องโต้ตอบสิทธิ์ของโครงการที่แสดงแท็บเวิร์กบุ๊ก มีหัวข้อที่เกี่ยวข้องกันมากมายที่กล่าวถึงวิธีคิด ตั้งค่า และจัดการสิทธิ์อนุญาต หัวข้อหลักได้แก่ หัวข้อนี้ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่พื้นฐาน วิธีการตั้งค่ากฎของสิทธิ์สำหรับโครงการและเนื้อหาอื่นๆ และการพิจารณาสิทธิ์สำหรับสถานการณ์เฉพาะ ความสามารถและเทมเพลตสิทธิ์ ซึ่งครอบคลุมรายละเอียดความสามารถต่างๆ ที่ใช้สร้างกฎของสิทธิ์ จัดการสิทธิ์ด้วยโปรเจกต์ ซึ่งครอบคลุมถึงการใช้โครงการต่างๆ เพื่อจัดการสิทธิ์ รวมถึงโครงการที่ซ้อนและล็อกจะกระทบต่อสิทธิ์อย่างไร สิทธิ์ที่มีผล ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีประเมินกฎของสิทธิ์และวิธีกำหนดสิทธิ์ขั้นสุดท้าย สิทธิ์ บทบาทในไซต์ และใบอนุญาต ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีที่สิทธิ์จะโต้ตอบกับบทบาทในไซต์และสิทธิ์อนุญาต เพื่อกำหนดสิ่งที่ผู้ใช้สามารถทำได้บนไซต์ นอกจากนี้ หาก การจัดการข้อมูล ได้รับสิทธิ์อนุญาต สิทธิ์สำหรับสินทรัพย์ภายนอกก็จะต้องมีการพิจารณาเพิ่มเติม หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู จัดการสิทธิ์สำหรับเนื้อหาภายนอก ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิ์ โครงการและกลุ่ม ไซต์ของ Tableau ใช้โครงการเพื่อจัดระเบียบเนื้อหา และใช้กลุ่มเพื่อจัดระเบียบผู้ใช้ การจัดการสิทธิ์จะง่ายขึ้นเมื่อกฎของสิทธิ์มีดังนี้ กำหนดไว้ที่ระดับโครงการแทนที่เนื้อหาแต่ละส่วน กำหนดสำหรับกลุ่มแทนที่บุคคล สามารถกำหนดสิทธิ์ให้กับผู้ใช้ กลุ่ม โปรเจ็กต์ หรือเนื้อหาที่มีอยู่แล้วเท่านั้น หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผู้ใช้และกลุ่ม การสร้างโครงการและการเผยแพร่เนื้อหา โปรดดู จัดการผู้ใช้และกลุ่ม ใช้โครงการเพื่อจัดการการเข้าถึงเนื้อหา และเผยแพร่แหล่งข้อมูลและเวิร์กบุ๊ก(ลิงก์จะเปิดในหน้าต่างใหม่) ความสามารถและกฎของสิทธิ์ กฎจะสร้างขึ้นจากความสามารถ ซึ่งก็คือความสามารถในการดำเนินการสิ่งต่างๆ อาทิ ดูเนื้อหา แก้ไขเว็บ ดาวน์โหลดแหล่งข้อมูล หรือลบเนื้อหา กฎของสิทธิ์จะกำหนดความสามารถที่ได้รับอนุญาตหรือถูกปฏิเสธแก่ผู้ใช้หรือกลุ่มในเนื้อหาแต่ละส่วน หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทมเพลตความสามารถและกฎของสิทธิ์ โปรดดู ความสามารถและเทมเพลตสิทธิ์ หมายเหตุ: เมื่อพูดถึงสิทธิ์โดยทั่วไป เป็นเรื่องปกติที่จะเห็นวลีเช่น “ผู้ใช้ต้องมีสิทธิ์ในการลบสิทธิ์” ซึ่งเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ง่ายในบริบทกว้างๆ แต่เมื่อใช้สิทธิ์ในระดับเทคนิคเช่นในบทความนี้ การพูดว่า "ความสามารถในการลบ" จะแม่นยำกว่า ในหัวข้อนี้ เราจะใช้คำว่าความสามารถที่แม่นยำมากกว่า แต่คุณควรระวังว่าคุณอาจเห็นคำว่าสิทธิ์ในที่อื่น กล่องโต้ตอบสิทธิ์ที่แสดงกฎของสิทธิ์หลายข้อที่อนุญาต ปฏิเสธ หรือไม่ระบุความสามารถบางอย่าง หากต้องการรายละเอียดของไอคอนความสามารถและความหมาย โปรดดู ความสามารถและเทมเพลตสิทธิ์ การทำงานร่วมกันระหว่างระดับสิทธิ์อนุญาต บทบาทในไซต์ และกฎของสิทธิ์หลายข้อที่อาจมีจะส่งผลต่อการตัดสินขั้นสุดท้ายว่าผู้ใช้สามารถหรือไม่สามารถทำอะไรได้บ้าง สำหรับผู้ใช้แต่ละราย ขั้นตอนนี้จะกลายเป็นสิทธิ์ที่มีผล. หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู สิทธิ์ที่มีผล งานบางอย่าง เช่น การสร้างเวิร์กบุ๊กใหม่จากเบราว์เซอร์ (การเขียนเว็บ) หรือการย้ายเนื้อหา อาจจะต้องเจาะจงกำหนดค่าของความสามารถหลายอย่าง แทนการให้สิทธิ์ความสามารถเดียว หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู การกำหนดสิทธิ์สำหรับสถานการณ์เฉพาะ กำหนดสิทธิ์ การตั้งค่ากฎของสิทธิ์จะแตกต่างกันที่ระดับโครงการที่ระดับเนื้อหา หรือเมื่อเผยแพร่เนื้อหาจาก Tableau Desktop หมายเหตุ: วลี “สิทธิ์ของโปรเจ็กต์” มี 2 ความหมาย มีความสามารถสิทธิ์สำหรับตัวโครงการเอง คือการดูและเผยแพร่ ซึ่งจะควบคุมวิธีที่ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับโครงการ และยังมีแนวคิดของกฎของสิทธิ์ในระดับโครงการสำหรับเนื้อหาประเภทอื่นๆ ในบทความนี้ “สิทธิ์ระดับโปรเจ็กต์” หมายถึงกฎของสิทธิ์สำหรับเวิร์กบุ๊ก แหล่งข้อมูล และเนื้อหาอื่นๆ ที่มีการกำหนดค่าในกล่องโต้ตอบสิทธิ์สำหรับโปรเจ็กต์ ซึ่งตรงกันข้ามกับกฎการอนุญาต "ระดับเนื้อหา" ที่สามารถกำหนดให้กับสมุดงาน แหล่งข้อมูล ฯลฯ สิทธิ์ระดับโครงการ สิทธิ์ระดับเนื้อหา กำหนดสิทธิ์เมื่อเผยแพร่ สำหรับผู้ดูแลระบบ เจ้าของโครงการและหัวหน้าโครงการ หากต้องการกำหนดสิทธิ์ที่ระดับโครงการ: ไปที่โครงการ เปิดเมนูการดำเนินการ (...) และคลิกสิทธิ์ เมนูการดำเนินการ กล่องโต้ตอบสิทธิ์จะเปิดขึ้น กล่องโต้ตอบนี้มีสองส่วนหลัก: กฎของสิทธิ์ที่ด้านบนและตารางกริดของสิทธิ์ที่มีผลบังคับใช้ด้านล่าง เนื้อหาแต่ละประเภทจะมีแท็บ ภาพด้านล่างจะแสดงแท็บเวิร์กบุ๊ก กล่องโต้ตอบสิทธิ์ของโครงการที่แสดงแท็บเวิร์กบุ๊ก เมื่อเลือกแถวที่ด้านบน ระบบจะเติมข้อมูลในตารางกริดของสิทธิ์ที่มีผลบังคับใช้ ใช้สิ่งนี้เพื่อตรวจสอบสิทธิ์ การวางเมาส์เหนือบริเวณนั้นจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุที่อนุญาตหรือปฏิเสธความสามารถสำหรับผู้ใช้ที่เฉพาะเจาะจง หากต้องการแก้ไขกฎการอนุญาตที่มีอยู่ เลือกแท็บที่เหมาะสมสำหรับชนิดเนื้อหานั้นและคลิกความสามารถ หากต้องการสร้างกฎใหม่ ให้คลิก + เพิ่มกฎของกลุ่ม/ผู้ใช้ แล้วเริ่มพิมพ์เพื่อค้นหากลุ่มหรือผู้ใช้ สำหรับแต่ละแท็บ ให้เลือกเทมเพลตที่มีอยู่จากช่องรายการดรอปดาวน์หรือสร้างกฎที่กำหนดเองโดยการคลิกความสามารถ การคลิกครั้งเดียวจะตั้งค่าความสามารถเป็น อนุญาต การคลิกสองครั้งจะตั้งค่าเป็น ปฏิเสธ และการคลิกครั้งที่สามจะล้างการเลือก (ไม่ระบุ) เมื่อเสร็จแล้ว ให้คลิกบันทึก กำหนดสิทธิ์ให้ประเภทเนื้อหาทั้งหมด โปรดทราบว่ากล่องโต้ตอบสิทธิ์สำหรับโครงการจะมีแท็บสำหรับเนื้อหาแต่ละประเภท คุณต้องกำหนดสิทธิ์ให้เนื้อหาแต่ละประเภทที่ระดับโครงการมิฉะนั้นผู้ใช้จะถูกปฏิเสธการเข้าถึงเนื้อหาประเภทนั้น ระบบจะให้สิทธิ์ความสามารถให้กับผู้ใช้ เมื่อผู้ใช้ได้รับอนุญาตอย่างชัดเจนเท่านั้น การปล่อยให้ความสามารถเป็น "ไม่ระบุ" จะส่งผลให้ความสามารถนั้นถูกปฏิเสธ เคล็ดลับ: ทุกครั้งที่คุณสร้างกฎของสิทธิ์ที่ระดับโครงการโปรดตรวจสอบว่าคุณได้ดูแท็บประเภทเนื้อหาทั้งหมด กำหนดการตั้งค่าสิทธิ์ของเนื้อหา กฎของสิทธิ์ที่ตั้งค่าไว้ที่ระดับโครงการทำหน้าที่เป็นค่าเริ่มต้นสำหรับเนื้อหาที่บันทึกไว้ในโครงการนั้นและโครงการใดๆ ที่ซ้อนกันที่มี ระบุว่ากฎตามค่าเริ่มต้นระดับโปรเจ็กต์เหล่านี้มีความสม่ำเสมอต่อเนื่องหรือสามารถแก้ไขได้โดยขึ้นอยู่กับการตั้งค่าสิทธิ์ของเนื้อหา การตั้งค่านี้สามารถกำหนดค่าได้สองวิธี ได้แก่ล็อก หรือสามารถปรับแต่งได้ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดูล็อกสิทธิ์สำหรับเนื้อหา ล้างกลุ่มผู้ใช้ทั้งหมด ตามค่าเริ่มต้น ระบบจะเพิ่มผู้ใช้ทั้งหมดเข้าในกลุ่ม “ผู้ใช้ทั้งหมด” ที่มีสิทธิ์พื้นฐานสำหรับเนื้อหา หากต้องการเริ่มต้นด้วยสเลทที่สะอาดเมื่อสร้างกฎของสิทธิ์ของคุณเอง เราขอแนะนำให้คุณลบกฎทั้งหมดหรือแก้ไขกฎสำหรับผู้ใช้ทั้งหมดเพื่อลบสิทธิ์ใดๆ (ตั้งค่าเทมเพลตบทบาทของสิทธิ์เป็น “ไม่มี”) ซึ่งช่วยป้องกันไม่ให้เกิดความคลุมเครือโดยการลดจำนวนกฎที่มีผลกับผู้ใช้ที่กำหนด และทำให้เข้าใจสิทธิ์ที่มีผลได้ง่ายยิ่งขึ้น การกำหนดสิทธิ์สำหรับสถานการณ์เฉพาะ การดำเนินการบางอย่างต้องใช้ความสามารถของสิทธิ์และบทบาทในไซต์ร่วมกัน ด้านล่างนี้เป็นสถานการณ์ทั่วไปบางส่วน รวมถึงการกำหนดค่าสิทธิ์ที่จำเป็น การบันทึก การเผยแพร่ และการเขียนทับ ในบริบทของสิทธิ์ การบันทึกคือการเผยแพร่เป็นหลัก เช่น ความสามารถในการเขียนทับและบันทึกสำเนาจะสามารถมอบหมายให้กับผู้ใช้ที่มีบทบาทในไซต์ที่อนุญาตการเผยแพร่เท่านั้น อาทิ ผู้ดูแลระบบ, Creator หรือ Explorer (สามารถเผยแพร่ได้) บทบาทในไซต์ของ Explorer หรือ Viewer จะไม่สามารถเผยแพร่ เขียนทับ หรือบันทึกสำเนาได้ ความสามารถในการเผยแพร่ของโครงการจะช่วยให้ผู้ใช้เผยแพร่เนื้อหาไปที่โครงการได้ ความสามารถในการเขียนทับจะช่วยให้ผู้ใช้บันทึกทับเนื้อหาที่มีได้ เมื่อบันทึกทับเนื้อหา ผู้ใช้จะกลายเป็นเจ้าของเนื้อหานั้น ความสามารถในการเขียนทับยังอนุญาตให้ผู้ใช้แก้ไขส่วนย่อยของเนื้อหาที่มีได้ เช่น คำอธิบายสำหรับเมตริกหรือคำพ้องความหมายสำหรับบทบาทข้อมูล การแก้ไขเนื้อหาที่มีอยู่ด้วยวิธีนี้จะไม่เปลี่ยนเจ้าของเนื้อหา ความสามารถในการบันทึกสำเนาจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถบันทึกสำเนาใหม่ของเนื้อหาได้ ซึ่งโดยปกติจะทำร่วมกับการเขียนเว็บและหมายความว่าผู้ใช้จะสามารถบันทึกการแก้ไขของตนได้ คุณจำเป็นต้องทราบว่าผู้ใช้ไม่สามารถเลือก “บันทึก” หรือ “บันทึกเป็น” กับเนื้อหาได้นอกจากจะมีความสามารถในการเผยแพร่อย่างน้อยหนึ่งโปรเจ็กต์ เพราะจะต้องเผยแพร่เนื้อหาทั้งหมดไปที่โปรเจ็กต์ หากไม่มีความสามารถในการเผยแพร่ที่ระดับโครงการ จะไม่สามารถเผยแพร่เนื้อหาได้ ในการแก้ไขเว็บ ตัวเลือกบันทึกในเมนูไฟล์จะปรากฏให้เจ้าของเนื้อหาเห็นเท่านั้น หากผู้ใช้ที่ไม่ได้เป็นเจ้าของมีความสามารถในการเขียนทับ (ที่อนุญาตให้ผู้ใช้รายนั้นบันทึกเนื้อหา) ผู้ใช้รายนั้นจะต้องเลือกไฟล์ > บันทึกเป็น และตั้งชื่อเวิร์กบุ๊กให้เป็นชื่อเดิม จะมีข้อความแจ้งว่ากำลังจะเขียนทับเนื้อหาที่มี โดยที่สามารถเขียนทับได้ ในทางกลับกัน ผู้ใช้ที่มีแค่ความสามารถในการบันทึกสำเนาที่พยายามใช้ชื่อเดียวกัน จะได้รับข้อผิดพลาดที่ระบุว่าพวกเขาไม่มีสิทธิ์เขียนทับเนื้อหาที่มี หากผู้ใช้ที่ไม่ใช่เจ้าของเนื้อหาเขียนทับเนื้อหา พวกเขาจะกลายเป็นเจ้าของพร้อมได้รับสิทธิ์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง ระบบจะพิจารณาการเข้าถึงเนื้อหาโดยเจ้าของเดิมจากสิทธิ์ในฐานะผู้ใช้มากกว่าเจ้าของ หมายเหตุ: ดาวน์โหลดเวิร์กบุ๊ก/บันทึกสำเนาเป็นความสามารถร่วมกันสำหรับเวิร์กบุ๊ก คุณสามารถกำหนดความสามารถนี้ให้กับ Explorer ได้ แต่จะได้สิทธิ์แค่การดาวน์โหลดเวิร์กบุ๊ก ไม่สามารถบันทึกสำเนาได้ การกำหนดความสามารถของบทบาทในไซต์ Explorer (สามารถเผยแพร่ได้), Creator หรือผู้ดูแลระบบ จะทำให้สามารถดาวน์โหลดเวิร์กบุ๊กและบันทึกสำเนาได้ การแก้ไขเว็บและการเขียนเว็บ การแก้ไขเว็บและการเขียนเว็บทำให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขหรือสร้างเวิร์กบุ๊กได้โดยตรงในเบราว์เซอร์ เราเรียกความสามารถของสิทธิ์ว่าแก้ไขเว็บและเรียกการตั้งค่าไซต์เรียกว่าการเขียนเว็บ ส่วนนี้เรียกการดำเนินการแก้ไขหรือเผยแพร่บนเว็บว่าเป็นการเขียนเว็บ มีข้อกำหนดหลายประการในการเปิดใช้ฟังก์ชันนี้ บทบาทในไซต์ของผู้ใช้: ผู้ใช้ต้องมีบทบาทที่เหมาะสมในไซต์ Viewer จะไม่สามารถแก้ไขเว็บได้ Explorers สามารถรับสิทธิ์ความสามารถในการแก้ไขเว็บได้ แต่จะไม่สามารถเผยแพร่ได้ โดยทั่วไป พวกเขาสามารถใช้การแก้ไขเว็บเพื่อตอบคำถามเชิงลึกตามเนื้อหาที่มีอยู่ได้ทันที แต่จะไม่สามารถบันทึกการแก้ไขได้ Explorers (สามารถเผยแพร่ได้) หรือ Explorers ที่ผู้ดูแลระบบของไซต์จะสามารถเผยแพร่ได้ แต่จะใช้ได้เฉพาะข้อมูลที่เผยแพร่ไปที่ไซต์เท่านั้น Creator, Creators ที่เป็นผู้ดูแลระบบของไซต์ และผู้ดูแลระบบของเซิร์ฟเวอร์จะสามารถเผยแพร่และสร้างแหล่งข้อมูลได้ ความสามารถของสิทธิ์: ผู้ใช้ต้องมีความสามารถของสิทธิ์ที่จำเป็นตามการทำงานที่ต้องการ การตั้งค่าความสามารถของสิทธิ์ที่จำเป็น การทำงานที่ต้องการ บทบาทต่ำสุดในไซต์ แก้ไขเว็บ ดาวน์โหลด/บันทึกสำเนา เขียนทับ (เวิร์กบุ๊ก) เผยแพร่ (โครงการ) เชื่อมต่อ (แหล่งข้อมูล) เขียนเว็บโดยไม่สามารถบันทึก Explorer อนุญาต ปฏิเสธ ปฏิเสธ ไม่บังคับ อนุญาต เขียนเว็บและบันทึกเป็นเนื้อหาใหม่ Explorer (สามารถเผยแพร่ได้) อนุญาต อนุญาต ปฏิเสธ อนุญาต อนุญาต เขียนเว็บและบันทึก (เขียนทับ) เนื้อหา Explorer (สามารถเผยแพร่ได้) อนุญาต อนุญาต อนุญาต อนุญาต อนุญาต เขียนเว็บโดยใช้ข้อมูลใหม่และบันทึกเนื้อหาใหม่ Creator อนุญาต ไม่บังคับ ไม่บังคับ อนุญาต ไม่บังคับ “ไม่บังคับ” หมายถึงความสามารถนี้ไม่เกี่ยวข้องกับการทำงานที่ต้องการ การเข้าถึงข้อมูลสำหรับแหล่งข้อมูล Tableau ที่เผยแพร่ แหล่งข้อมูลที่เผยแพร่ไปยังไซต์ Tableau อาจมีการตรวจสอบสิทธิ์แบบเนทีฟภายในสภาพแวดล้อมของ Tableau เมื่อเผยแพร่แหล่งข้อมูลไปยังไซต์ Tableau ผู้เผยแพร่สามารถเลือกวิธีตั้งค่าข้อมูลเข้าสู่ระบบสำหรับการเข้าถึงข้อมูลที่คุณเผยแพร่ ซึ่งระบุวิธีจัดการข้อมูลเข้าสู่ระบบของแหล่งข้อมูล (เช่น กำหนดให้ผู้ใช้ลงชื่อเข้าใช้ฐานข้อมูลหรือป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบสำหรับ Google ชีต) การตรวจสอบสิทธิ์นี้จะใช้เทคโนโลยีที่เก็บข้อมูลไว้ในการควบคุม ซึ่งสามารถฝังได้เมื่อมีการเผยแพร่แหล่งข้อมูล หรือผู้เผยแพร่แหล่งข้อมูลสามารถเลือกให้แจ้งผู้ใช้ระบุข้อมูลเข้าสู่ระบบของตนกับแหล่งข้อมูลได้ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู เผยแพร่แหล่งข้อมูล นอกจากนี้ยังมีความสามารถของแหล่งข้อมูลที่อนุญาตหรือปฏิเสธไม่ให้ผู้ใช้ดู (ดู) และเชื่อมต่อกับแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่ (เชื่อมต่อ) ในบริบทของ Tableau ความสามารถเหล่านี้จะได้รับการตั้งค่าเหมือนกับสิทธิ์อื่นๆ ใน Tableau เมื่อมีการเผยแพร่เวิร์กบุ๊กที่ใช้แหล่งข้อมูลที่เผยแพร่ ผู้เขียนสามารถควบคุมวิธีการทำงานของการตรวจสอบสิทธิ์ Tableau สำหรับผู้ที่ใช้เวิร์กบุ๊กนั้น ผู้เขียนจะตั้งค่าการเข้าถึงของเวิร์กบุ๊กให้กับแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นฝังรหัสผ่าน (โดยใช้การเข้าถึง “เชื่อมต่อ” ของผู้เขียนกับแหล่งข้อมูล) หรือแจ้งผู้ใช้ (โดยใช้การเข้าถึง “เชื่อมต่อ” ของบุคคลที่ดูเวิร์กบุ๊ก) ซึ่งอาจต้องตรวจสอบสิทธิ์ของแหล่งข้อมูลเช่นกัน เมื่อตั้งเวิร์กบุ๊กเป็นฝังรหัสผ่าน ทุกคนที่ดูเวิร์กบุ๊กจะเห็นข้อมูลตามสิทธิ์ของผู้เขียนในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล หากตั้งเวิร์กบุ๊กเป็นแจ้งผู้ใช้ ระบบจะตรวจสอบสิทธิ์การเข้าถึงที่ควบคุมโดย Tableau สำหรับแหล่งข้อมูล ผู้ที่ใช้เวิร์กบุ๊กต้องมีความสามารถในการเชื่อมต่อแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่เพื่อดูข้อมูล หากตั้งแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่เป็นแจ้งผู้ใช้ ผู้ที่ดูจะต้องป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบของแหล่งข้อมูลด้วย การตรวจสอบสิทธิ์เวิร์กบุ๊กในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล การตรวจสอบสิทธิ์แหล่งข้อมูลในการเข้าถึงข้อมูล วิธีการประเมินการเข้าถึงข้อมูลสำหรับผู้ที่ใช้เวิร์กบุ๊ก ฝังรหัสผ่าน ฝังรหัสผ่าน ผู้ใช้จะเห็นข้อมูลเหมือนกับว่าเป็นผู้เขียนเวิร์กบุ๊ก ฝังรหัสผ่าน แจ้งผู้ใช้ ผู้ใช้จะเห็นข้อมูลเหมือนกับว่าเป็นผู้เขียนเวิร์กบุ๊ก (ผู้เขียนจะได้รับแจ้งการตรวจสอบสิทธิ์แหล่งข้อมูล ไม่ใช่ผู้ใช้) แจ้งผู้ใช้ ฝังรหัสผ่าน ผู้ใช้ต้องมีความสามารถในการเชื่อมต่อกับแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่ แจ้งผู้ใช้ แจ้งผู้ใช้ ผู้ใช้ต้องมีความสามารถในการเชื่อมต่อของกับแหล่งข้อมูลที่เผยแพร่ และจะได้รับแจ้งให้ระบุข้อมูลเข้าสู่ระบบกับข้อมูลเบื้องหลัง โปรดทราบว่ามีผลกับการใช้เวิร์กบุ๊ก ไม่ใช่การแก้ไขเว็บ หากต้องการแก้ไขเว็บ ผู้ใช้ต้องมีความสามารถในการเชื่อมต่อ หากต้องการข้อมูลเกี่ยวกับการฝังรหัสผ่านเมื่อคุณเผยแพร่เนื้อหาของ Tableau เช่น แหล่งข้อมูลหรือเวิร์กบุ๊กที่ใช้การเชื่อมต่อเสมือน โปรดดูการเชื่อมต่อเสมือน(ลิงก์จะเปิดในหน้าต่างใหม่)ในความช่วยเหลือเกี่ยวกับ Tableau Server ย้ายเนื้อหา หากต้องการย้ายรายการ ให้เปิดเมนูการดำเนินการ (...) แล้วคลิกย้าย เลือกโปรเจ็กต์ใหม่สำหรับรายการ จากนั้นคลิกย้ายเนื้อหา หากไม่สามารถย้ายได้หรือไม่มีโปรเจ็กต์ปลายทาง ให้ตรวจสอบว่าการย้ายตรงตามเงื่อนไขที่เหมาะสมดังนี้ ผู้ดูแลระบบสามารถย้ายเนื้อหาและโปรเจ็กต์ไปยังตำแหน่งใดก็ได้เสมอ หัวหน้าโปรเจ็กต์และเจ้าของโปรเจ็กต์จะสามารถย้ายเนื้อหาและโปรเจ็กต์ที่ซ้อนกันระหว่างโปรเจ็กต์ของตนได้ โปรดทราบว่าผู้ที่ไม่ใช่ผู้ดูแลระบบจะไม่สามารถย้ายโครงการให้เป็นโครงการระดับบนสุดได้ ผู้ใช้รายอื่นจะสามารถย้ายเนื้อหาได้ หากตรงตามข้อกำหนดทั้งสามต่อไปนี้ มีบทบาทในไซต์เป็น Creator หรือ Explorer (สามารถเผยแพร่ได้) มีสิทธิ์ในการเผยแพร่ (ความสามารถในการดูและเผยแพร่) สำหรับโครงการปลายทาง เป็นเจ้าของเนื้อหา หรือเจ้าของเวิร์กบุ๊ก และลำดับงาน และมีความสามารถในการย้าย เมื่อย้ายฐานข้อมูลด้วยตาราง ผู้ใช้ต้องมีความสามารถในการย้ายสำหรับทั้งฐานข้อมูลและตาราง หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดการสิทธิ์ขณะที่ย้ายเนื้อหาและโครงการ โปรดดู ย้ายโปรเจกต์และเนื้อหา เมตริก เมตริกจะสร้างขึ้นจากมุมมองในเวิร์กบุ๊กที่เผยแพร่ ผู้ใช้จะสามารถสร้างเมตริกได้ ในกรณีดังนี้ มีบทบาทในไซต์เป็น Creator หรือ Explorer (สามารถเผยแพร่ได้) มีความสามารถในการเผยแพร่โครงการ มีความสามารถในการสร้าง/รีเฟรชเมตริกเวิร์กบุ๊กที่เกี่ยวข้อง หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู สร้างและแก้ปัญหาเมตริก และตั้งค่าสำหรับเมตริก หมายเหตุ: ก่อนเวอร์ชัน 2021.3 ความสามารถในการสร้างเมตริกบนมุมมองจะอยู่ภายใต้การควบคุมโดยความสามารถ “ดาวน์โหลดข้อมูลทั้งหมด” เนื่องจากเมตริกเป็นเนื้อหาอิสระ คุณจึงจำเป็นต้องทราบว่าสิทธิ์สำหรับเมตริกจะได้รับการจัดการโดยเป็นอิสระจากมุมมองที่สร้างขึ้น (ซึ่งแตกต่างจากการแจ้งเตือนตามข้อมูลและการสมัครรับข้อมูล ที่จะสามารถดูเนื้อหาของการแจ้งเตือนหรือการสมัครรับข้อมูลได้ก็ต่อเมื่อผู้ใช้มีสิทธิ์ที่ถูกต้องสำหรับมุมมอง) แม้ว่าความสามารถของเมตริกจะตรงไปตรงมา แต่ก็ควรพิจารณาความสามารถในการดูอย่างรอบคอบ อาจเป็นไปได้ที่เวิร์กบุ๊กที่มีสิทธิ์แบบจำกัดจะเป็นพื้นฐานสำหรับเมตริกที่มีสิทธิ์แบบเปิดมากขึ้น คุณอาจต้องการปฏิเสธการสร้างเมตริกสำหรับเวิร์กบุ๊กเฉพาะทางเพื่อป้องกันข้อมูลที่ละเอียดอ่อน เมตริกจะแสดงข้อมูลจากมุมมองของเจ้าของ เมื่อสร้างเมตริก คุณจะบันทึกมุมมองของข้อมูลจากมุมมองนั้น ซึ่งหมายความว่า ผู้ใช้ที่สามารถเข้าถึงเมตริกของคุณจะเห็นข้อมูลเหมือนกับที่คุณเห็น หากมีการกรองข้อมูลในมุมมองตามข้อมูลเข้าสู่ระบบของคุณ ข้อมูลที่คุณเห็นอาจแตกต่างจากที่ผู้ใช้รายอื่นเห็นเมื่อเข้าถึงมุมมองเดียวกัน จำกัดความสามารถในการดูเมตริกของคุณ หากคุณกังวลเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลในมุมมอง แสดงหรือซ่อนแท็บชีต ในบริบทของเนื้อหาที่เผยแพร่ แท็บชีต (หรือที่เรียกว่ามุมมองแบบแบ่งแท็บ) มีรูปแบบที่แตกต่างจากแท็บชีตใน Tableau Desktop การแสดงและการซ่อนแท็บชีตใน Tableau Desktop หมายถึงการซ่อนชีตในสภาพแวดล้อมการเขียน หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู จัดการชีตในแดชบอร์ดและเรื่องราว การแสดงและซ่อนแท็บชีต (การเปิดหรือปิดมุมมองแบบแบ่งแท็บ) สำหรับเนื้อหาที่เผยแพร่ หมายถึงการนำทางในเวิร์กบุ๊กที่เผยแพร่ เมื่อแสดงแท็บชีต เนื้อหาที่เผยแพร่จะมีแท็บชีตนำทางทางด้านบนสุดของแต่ละมุมมอง การเปรียบเทียบการนำทางมุมมองกับมุมมองที่แบ่งแท็บที่เปิดและปิด การตั้งค่านี้จะส่งผลต่อฟังก์ชันของสิทธิ์และอาจมีผลกระทบต่อความปลอดภัยด้วยเช่นกัน (ดูหมายเหตุ) หมายเหตุ: ผู้ใช้อาจมีความสามารถในการดูมุมมองโดยไม่มีความสามารถในการดูเวิร์กบุ๊กหรือโปรเจ็กต์ที่มีมุมมองนั้นก็ได้ โดยปกติ หากผู้ใช้ไม่มีความสามารถในการดูโปรเจ็กต์และเวิร์กบุ๊ก ผู้ใช้จะไม่ทราบว่ามีชุดเนื้อหาเหล่านั้นอยู่ แต่หากผู้ใช้มีความสามารถในการดูมุมมอง ผู้ใช้อาจมองเห็นโครงการและชื่อเวิร์กบุ๊กเมื่อดูมุมมองได้ เช่น ในการแสดงเส้นทางการนำทาง พฤติกรรมนี้ได้รับการคาดไว้และยอมรับได้ ปิดมุมมองแบบแบ่งแท็บเพื่อให้อนุญาตสิทธิ์การดูอิสระ แม้ว่าจะไม่แนะนำเป็นแนวทางปฏิบัติทั่วไป แต่บางครั้งก็อาจมีประโยชน์ในการตั้งค่าสิทธิ์มุมมองโดยไม่ขึ้นกับเวิร์กบุ๊กที่มี หากต้องการตั้งค่า จะต้องมีเงื่อนไขสามข้อดังนี้ ต้องเผยแพร่เวิร์กบุ๊ก ไม่มีวิธีกำหนดสิทธิ์ในการดูในระหว่างการเผยแพร่ สมุดงานต้องอยู่ในโครงการที่ปรับแต่งได้ เวิร์กบุ๊กไม่สามารถแสดงชีตเป็นแท็บได้ (ต้องซ่อนมุมมองแบบแบ่งแท็บ) เมื่อเวิร์กบุ๊กแสดงชีตเป็นแท็บ มุมมองทั้งหมดจะสืบทอดสิทธิ์ของเวิร์กบุ๊ก และการเปลี่ยนแปลงใดๆ ต่อสิทธิ์ของเวิร์กบุ๊กจะส่งผลต่อมุมมองทั้งหมดของเวิร์กบุ๊ก เมื่อเวิร์กบุ๊กในโปรเจ็กต์ที่ปรับแต่งได้ไม่แสดงมุมมองแบบแบ่งแท็บ มุมมองทั้งหมดจะถือว่าสิทธิ์ของเวิร์กบุ๊กนั้นมาจากการเผยแพร่ แต่การเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่ตามมาต่อกฎของสิทธิ์ในเวิร์กบุ๊กจะไม่ได้รับสืบทอดมาจากมุมมอง การเปลี่ยนการกำหนดค่าของชีตเป็นแท็บบนเวิร์กบุ๊กที่เผยแพร่จะส่งผลต่อรูปแบบของสิทธิ์ด้วย “แท็บแสดง” จะแทนที่การอนุญาตที่ระดับมุมมองที่มี และจะคืนสิทธิ์ระดับเวิร์กบุ๊กสำหรับมุมมองทั้งหมด “แท็บซ่อน” จะทำลายความสัมพันธ์ระหว่างเวิร์กบุ๊กและมุมมองของเวิร์กบุ๊ก หากต้องการกำหนดค่าชีตเป็นแท็บในเวิร์กบุ๊กที่เผยแพร่ ให้เปิดเมนูการดำเนินการ (...) ของเวิร์กบุ๊กแล้วเลือกมุมมองแบบแบ่งแท็บ เลือกแสดงแท็บหรือ ซ่อนแท็บตามต้องการ หากต้องการกำหนดค่าชีตเป็นแท็บระหว่างการเผยแพร่ โปรดดู แสดงชีตเป็นแท็บ(ลิงก์จะเปิดในหน้าต่างใหม่) หากต้องการกำหนดสิทธิ์ระดับมุมมอง โปรดดู กำหนดสิทธิ์ในเนื้อหา สำคัญ: ในโปรเจ็กต์ที่ปรับแต่งได้ การปรับเปลี่ยนใดๆ ต่อสิทธิ์ในระดับเวิร์กบุ๊กจะไม่มีผล หากแท็บแผ่นงานนำทางถูกซ่อนเอาไว้ (หรือปิดมุมมองแบบแบ่งแท็บเอาไว้) ต้องทำการเปลี่ยนแปลงสิทธิ์ในแต่ละมุมมองแยกกัน คอลเลกชัน คอลเล็กชันอาจนับได้ว่าเป็นรายการลิงก์ไปยังเนื้อหา ซึ่งจะต่างจากโครงการที่ประกอบด้วยเนื้อหา สิทธิ์ของโปรเจ็กต์สามารถสืบทอดจากเนื้อหาในโปรเจ็กต์ได้ แต่สิทธิ์ของคอลเล็กชันจะไม่มีผลกับเนื้อหาที่เพิ่มไปยังคอลเลกชัน ซึ่งหมายความว่าผู้ใช้คนละราย อาจเห็นจำนวนรายการแตกต่างกันในคอลเลกชัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรายการที่พวกเขาได้รับอนุญาตให้ดู หากต้องการตรวจดูว่าผู้ใช้สามารถดูรายการทั้งหมดในคอลเลกชันได้ ให้ปรับสิทธิ์สำหรับรายการเหล่านั้นทีละรายการ คุณสามารถเปลี่ยนแปลงสิทธิ์สำหรับคอลเลกชันได้โดยใช้กล่องโต้ตอบสิทธิ์หรือโดยการให้สิทธิ์การเข้าถึงเมื่อแชร์คอลเลกชัน หากคุณเป็นผู้ดูแลระบบหรือเจ้าของคอลเลกชัน หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู จัดการสิทธิ์ของคอลเลกชัน คอลเลกชันส่วนตัว เมื่อสร้างคอลเลกชัน จะมีสถานะเป็นส่วนตัวตามค่าเริ่มต้น คอลเลกชันส่วนตัวจะปรากฏบนหน้า “คอลเลกชันของฉัน” ของเจ้าของ แต่จะไม่ปรากฏในรายการคอลเลกชันทั้งหมดบนไซต์ คอลเลกชันส่วนตัวเป็นเพียงคอลเลกชันที่ไม่ได้เพิ่มกฎของสิทธิ์ ระบบจะไม่ได้เพิ่มกลุ่ม "ผู้ใช้ทั้งหมด" ตามค่าเริ่มต้นให้กับคอลเล็กชัน เหมือนกับที่เพิ่มให้เนื้อหาประเภทอื่น เมื่อคุณเพิ่มกฎของสิทธิ์ลงในคอลเลกชัน ระบบจะไม่ตั้งสถานะให้เป็นส่วนตัวอีกต่อไป หากคุณเปลี่ยนสถานะของคอลเลกชันกลับเป็นส่วนตัว ให้นำกฎของสิทธิ์ออก เจ้าของคอลเลกชันและผู้ดูแลระบบจะสามารถดูคอลเลกชันส่วนตัวได้ ซึ่งบทบาทในไซต์ทำให้มีสิทธิ์ในการดูคอลเลกชันทั้งหมดได้ อธิบายข้อมูล เมื่อมีการอธิบายข้อมูล ผู้ใช้สามารถเลือกเครื่องหมายในมุมมองและคลิกเรียกใช้อธิบายข้อมูลในเมนู Tooltip ของเครื่องหมายได้ โดยจะต้องเปิดใช้งานการตั้งค่าต่างๆ ร่วมกันเพื่อให้ฟังก์ชันอธิบายข้อมูลพร้อมใช้งานในโหมดแก้ไขและโหมดการดู ข้อกำหนดสำหรับผู้เขียนในการเรียกใช้ “อธิบายข้อมูล” หรือแก้ไขการตั้งค่า “อธิบายข้อมูล” ในโหมดการแก้ไข: การตั้งค่าไซต์: ตั้งค่าความพร้อมใช้งานของ “อธิบายข้อมูล” เป็นเปิดใช้งาน เปิดใช้งานอยู่แล้วโดยค่าเริ่มต้น บทบาทในไซต์: Creator, Explorer (สามารถเผยแพร่ได้) สิทธิ์: ตั้งค่าความสามารถการเรียกใช้ “อธิบายข้อมูล”เป็นอนุญาต ไม่ได้ระบุโดยค่าเริ่มต้น หากคุณเปิดเวิร์กบุ๊ก (Tableau เวอร์ชัน 2022.1 หรือเก่ากว่า) ที่ใช้สิทธิ์นี้ใน Tableau เวอร์ชัน 2022.2 หรือใหม่กว่า คุณจะต้องรีเซ็ตความสามารถการเรียกใช้ “อธิบายข้อมูล” เป็น “อนุญาต” หมายเหตุ: ความสามารถดาวน์โหลดข้อมูลทั้งหมดสำหรับ Creator และ Explorer (สามารถเผยแพร่ได้) ควบคุมว่า Creator และ Explorer จะเห็นตัวเลือก “ดูข้อมูลทั้งหมด” ในการอธิบายค่าสุดขีดหรือไม่ ผู้ดูจะถูกปฏิเสธไม่ให้ใช้ความสามารถดาวน์โหลดข้อมูลทั้งหมดเสมอ อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้ทั้งหมดจะเห็นรายละเอียดระดับบันทึกเมื่อเปิดใช้งานประเภทการอธิบายค่าสุดขีดในการตั้งค่า “อธิบายข้อมูล” ข้อกำหนดสำหรับผู้ใช้ทุกรายในการเรียกใช้ “อธิบายข้อมูล” ในโหมดการดู: การตั้งค่าไซต์: ตั้งค่าความพร้อมใช้งานของ “อธิบายข้อมูล” เป็นเปิดใช้งาน เปิดใช้งานอยู่แล้วโดยค่าเริ่มต้น บทบาทในไซต์: Creator, Explorer หรือ Viewer สิทธิ์: ตั้งค่าความสามารถการเรียกใช้ “อธิบายข้อมูล”เป็นอนุญาต ไม่ได้ระบุโดยค่าเริ่มต้น หากคุณเปิดเวิร์กบุ๊ก (Tableau เวอร์ชัน 2022.1 หรือเก่ากว่า) ที่ใช้สิทธิ์นี้ใน Tableau เวอร์ชัน 2022.2 หรือใหม่กว่า คุณจะต้องรีเซ็ตความสามารถ “อธิบายข้อมูล” เป็น “อนุญาต” เลนส์สอบถามข้อมูล ตามค่าเริ่มต้น ผู้ใช้ที่มีบทบาทในไซต์เป็น Explorer (สามารถเผยแพร่ได้) และ Creator มีความสามารถในการเขียนทับสำหรับเลนส์ ซึ่งหมายความว่าผู้ใช้ที่มีบทบาทที่เหมาะสมจะสามารถแก้ไขชื่อ คำอธิบาย ฟิลด์ คำพ้องความหมาย และคำถามที่แนะนำสำหรับเลนส์ได้ หากต้องการจำกัดคนที่สามารถแก้ไขเลนส์ได้ ให้ปฏิเสธความสามารถในการเขียนทับสำหรับผู้ใช้เฉพาะรายหรือทั้งกลุ่ม หากต้องการจำกัดเลนส์ทั้งหมดในโครงการ ให้ปฏิเสธความสามารถในการเขียนทับสำหรับเลนส์ที่ระดับโครงการ]]]]


Initially, I had been using Google's password manager to make and store my Wikimedia password. However, once I found out that you may not disclose passwords to a third party, I stopped using it. For this reason, I had forgotten the password to my former account (which had no email attached to it) and later created this account. [[User:Caehlla2357|Caehlla2357]] ([[User talk:Caehlla2357|talk]]) 17:30, 16 July 2021 (UTC)
Initially, I had been using Google's password manager to make and store my Wikimedia password. However, once I found out that you may not disclose passwords to a third party, I stopped using it. For this reason, I had forgotten the password to my former account (which had no email attached to it) and later created this account. [[User:Caehlla2357|Caehlla2357]] ([[User talk:Caehlla2357|talk]]) 17:30, 16 July 2021 (UTC)

Revision as of 10:02, 15 March 2023


Archives
1, 2, 3

Are password managers a violation of Section 5 of the Terms of Use?

Initially, I had been using Google's password manager to make and store my Wikimedia password. However, once I found out that you may not disclose passwords to a third party, I stopped using it. For this reason, I had forgotten the password to my former account (which had no email attached to it) and later created this account. Caehlla2357 (talk) 17:30, 16 July 2021 (UTC)Reply

"you should follow the policies that govern each of the independent Project editions."

It is very unclear what the policies precisely are you have to follow as an editor. It would be good, when the Wikimedia Foundation would create a kind of "basic line policies" everyone is obliged to follow and publish these basic policies uneditable on a spot that is easy to find. Furthermore it would be good, editors would be informed beforehand, what eventual consequences would be of not following policies. Last but not least it would be good to know, what body is the authority to decide on issues and according to what rules. Thanks! Count your Garden by the Flowers (talk) 21:13, 12 November 2022 (UTC)Reply